เอเวอเรสต์ ภูเขาอันหนาวเหน็บที่ท้าทาย คนชอบเสี่ยงอันตราย เข้าไปเพื่อพิชิตยอดเขาที่สูงเสียดฟ้า
เอเวอเรสต์ เอเวอเรสต์ภาษาอังกฤษ(Mount Everest) เป็นภูเขามีระดับความสูง ที่สุดในโลก ซึ่งมีความสูงมากกว่า 8,963 เมตร ทั้งความสูงชัน สภาพอากาศที่หนาวเหน็บ อีกทั้งยังมีความอันตราย ที่มองไม่เห็นใต้ผืนหิมะ นั้นคือสิ่งที่เชื้อเชิญให้ นักปีนเขาที่อยู่ทั่วโลก ต้องการมาท้าทาย ความอันตรายที่สูงเสียดฟ้านี้
ว่ากันว่าเขาเอเวอเรสต์ ราวกับหลุมศพแช่แข็ง ของบรรดานักปีนเขา รวมถึงไกด์ท้องถิ่น ไม่ต่ำกว่าสิบคนต่อปี แม้แต่นักปีนเขาที่มีประสบการณ์ และมีอุปกรณ์ครบครัน ก็ยังพลาดท่าจนเสียชีวิต
ยอดเขาเอเวอเรสต์ อุณหภูมิ ความสูงชันและสภาพอากาศที่หนาวเหน็บ เขาเอเวอเรสต์ที่มีความสูงมาก มีแรงลมมากกว่า 180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อากาศข้างบนหนาวจน ติดลบมากกว่า 18 องศาเมื่อฤดูร้อน และติดลบ 35 องศาเมื่อฤดูหนาว อีกทั้งความกดอากาศ ยังส่งผลให้จำนวน ออกซิเจนในอากาศน้อยเกินกว่า คนทั่วไปจะอยู่บนนั้นนาน ๆ ได้
ดังนั้น แนะนำ สถานที่เอ็กซ์ตรีม นักปีนเขาจะต้องมี ถังออกซิเจนพักไว้ ติดตัวตลอดเวลา และยังมีเรื่องความอันตราย หากมีหิมะถล่ม ผาน้ำแข็งล่มสลาย โพรงหรือถ้ำใต้หิมะ ที่ซ่อนตัวอยู่เกิดทรุดตัวลง โดยไม่มีสัญญาณเตือน ให้ทราบมาก่อน พายุหิมะที่โหมกระหน่ำ อาจก่อตัวขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้การขึ้นหรือลงเขา ต้องหยุดชะงัก
อันตรายที่เกิดขึ้นบนยอดเขา
อาจมีอาการผิดปกติเมื่ออยู่บนที่สูง หรืออาการป่วยเฉียบพลันในตอนที่ปีนเขา (Acute Mountain Sickness หรือ AMS) คือชื่อเรียกความป่วย เมื่อต้องอยู่บนที่สูง 2,800 เมตรขึ้นไป เนื่องจากปริมาณแก๊สออกซิเจน ที่ลดลงอย่างรวดเร็ว
อาจทำให้เกิดอาการปวดวิงเวียนศีรษะ อาเจียน เหนื่อย นอนไม่หลับ หัวใจเต้นถี่ผิดปกติ ประสาทหลอน และมึนงง จนถึงขั้นสมองและอวัยวะอื่น ๆ บวมน้ำ ถ้าหากไม่เข้ารับการรักษา อย่างทันท่วงที ส่งผลให้เสียชีวิตลง นอกจากนั้นยังมี สาเหตุการตายอื่น ๆ อย่าง ตกเขา ภาวะตัวเย็นเกิน หิมะกัดผิวหนัง และร่างกายอ่อนเพลีย ซึ่งนักปีนเขาเอเวอเรสต์ ทุกคนนั้นทราบถึง ความเสี่ยงเหล่านี้อยู่แล้ว
เหตุการณ์น่าเศร้า ที่เกิดขึ้นกับนักปีนเขา
ในปี 1918–2020 พบว่ามีผู้เสียชีวิตมากกว่า 287 คน จากคนที่ต้องการขึ้นไปบน ยอดเขาเอเวอเรสต์ 22,876 คน ขณะที่มีคนสามารถ ขึ้นไปถึงยอดเขาได้สำเร็จ 10,258 คน
เหตุการณ์น่าเศร้า ครั้งแรกนี้เกิดขึ้นเมื่อปี 1920 เมื่อผู้รับจ้างหาบ ชาวเชอร์ปาจำนวน 6 คนเสียชีวิตลง เพราะว่ามีหิมะถล่มเฉียบพลัน เกิดขึ้นตอนที่เข้าร่วม กลุ่มสำรวจชาวอังกฤษ
เมื่อปี 1995 พบว่ามีผู้เสียชีวิตจำนวน 7 คน สาเหตุเกิดจาก ติดพายุหิมะในขณะที่ เดินทางมาจากยอดเขา ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ เรียกได้ว่ารุนแรงที่สุด และยังมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2014 เกิดแผ่นดินไหวใหญ่ ในประเทศเนปาล
ที่ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือน Mount Everest จนส่งผลกระทบต่อเขาเวอเรสต์ ทำให้หิมะหล่นมาทับ ค่ายนักปีนเขา (เบสแคมป์) ที่อยู่ตรงเชิงเขา ทำให้ชาวเชอร์ปา และชาวต่างชาติเสียชีวิตไปมากกว่า 23 คน อีกทั้งยังมีนักปีนเขา ที่ยังค้นหาไม่เจอ ซึ่งต้องรอการค้นพบ หรือต้องรอให้หิมะละลาย อีกหลายศพเลยทีเดียว
พื้นที่หนาแน่น เมื่อนักปีนเขาแห่กันมาล้นหลาม
หลายคนอาจจะ ไม่ทราบมาก่อนว่า ช่วงที่เหมาะสมกับการปีนเขา ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมปี 2020 ที่ผ่านมา มีนักปีนเขาเดินทางมามากกว่า 945 คน จนส่งผลให้ เส้นทางขึ้นหรือลงเขา เรียกได้ว่าหนาแน่น และต้องต่อคิวเพื่อที่จะ ปีนขึ้นหรือลงเขากันอีกด้วย
ซึ่งแน่นอนว่า หากมีนักปีนเขา เกิดอาการป่วยเฉียบพลัน จะต้องใช้เวลามากขึ้น กว่าจะถึงมือแพทย์ นักปีนเขากลุ่มหนึ่งได้ให้สัมภาษณ์ว่า สาเหตุที่ทำให้ในปี 2020 มีนักปีนเขามากันเยอะมากขึ้น นั้นมาจากชาวบ้านในท้องถิ่น ทำทัวร์ปีนเขาราคาถูก นักปีนเขาหลายคนยังไม่มีประสบการณ์ และขาดจิตสำนึก รัฐบาลเนปาลไม่มีมาตรการ ในการจัดระเบียบที่ดี
ไม่เพียงเท่านั้น การปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ ควรจะต้องมีทักษะ รวมถึงมีประสบการณ์ในการปีนเขา เพราะว่าการทำความเร็ว เรียกได้ว่าไม่ใช้สิ่งที่ดี อีกทั้งยังทำให้ เกิดอันตรายต่อชีวิตนักปีนเขา และเพื่อนร่วมทางด้วย
มีซากศพ อุปกรณ์ปีนเขาที่ถูกทิ้ง จนเป็นขยะกองใหญ่
ได้มีข้อมูลที่ได้สำรวจจนถึงปี 2020 ออกมาเปิดเผยว่า พบศพที่มีการตกค้าง อยู่บนยอดเขามากถึง 300 ศพ มีทั้งศพที่ยืนยันตัวตนได้และศพที่ไม่สามารถยืนยันตัวตนได้ ศพที่ไม่ทราบว่าเป็นใคร ที่มีชื่อเสียงก็คือ กรีนบูทส์ (Green Boots) ที่มาจากคำว่า รองเท้าบูตสีเขียว ซึ่งศพของเขาถูกพบที่ความสูง 8,400 เมตร เมื่อปี 2002 ในเวลาต่อมา ศพดังกล่าวได้หายสาบสูญในปี 2013 ซึ่งไม่มีใครรู้ถึงสาเหตุ
ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีเรื่องปัญหาขยะจำนวนมหาศาล ที่นักปีนเขาขึ้นมาแล้วได้ทิ้งไว้
อย่าง ถังออกซิเจน เต็นท์ใช้แล้ว อุปกรณ์ตั้งแคมป์ รวมไปถึงสิ่งปฏิกูลของมนุษย์ โดยชาวเชอร์ปาและลูกหาบ จึงต้องช่วยกันเก็บขยะ ที่มีปริมาณหลายร้อยตัน ลงจากยอดเขากันทุกๆ ปี คนส่วนใหญ่มักจะเรียกกันว่า ‘กองขยะที่สูงที่สุดในโลก’ บนยอดเขาเอเวอเรสต์
คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่า เอเวอเรสต์2022 นั้นเป็นชื่อของภูเขาลูกหนึ่ง ซึ่งแท้จริงแล้ว เอเวอเรสต์ นั้นเป็นแค่ “ยอดเขา” ที่อยู่บนเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเป็นจุดตรงกลาง ระหว่างเขตแดนของ เนปาล และ ทิเบต
โดยประชากรทั้งสองประเทศนั้น แนะนำ กีฬาเอ็กซ์ตรีม ที่ถูกเทือกเขาหิมาลัยแบ่งอยู่ จะทราบกันดีว่า “ยอดเขาเอเวอเรสต์” เป็นยอดเขาที่ยากในการขึ้นไปถึง อีกทั้งยังต้องเจอกับความอันตราย กว่าจะขึ้นไปถึงจุดสูงสุดได้
ด้วยเหตุนี้เอง เอเวอเรสต์อยู่ประเทศอะไร ทำให้ชาวเนปาล เรียกสถานที่แห่งนี้ว่า ผู้ให้กำเนิดของท้องสมุทร ขณะที่ชาวทิเบต เองก็เหมือนกัน พวกเขาเรียกสถานที่แห่งนี้ ด้วยความศัทธาว่า ผู้ให้กำเนิดของสวรรค์ แรกเริ่มยอดเขาที่สูงที่สุด บนเทือกเขาหิมาลัย ไม่ได้มีชื่อที่ตายตัว ชาวบ้านและคณะผู้สำรวจ ได้ตั้งฉายาว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) และต่อมาใช้ชื่อว่า เอเวอเรสต์
ผู้ที่ตั้งชื่อก็คือคุณ เซอร์ แอนดรูว์ วอห์ นักปีนเขาชาวอังกฤษ เนื่องจากต้องการสดุดีให้กับคุณ เซอร์ จอร์จ เอเวอเรสต์ ผู้สำรวจภูมิศาสตร์ชาวเวลส์ อีกทั้งยังเป็นผู้หัวหน้า ทีมสำรวจในอินเดียระหว่างปี 1829 จนถึง 1837 ถึงแม้จะมีการเปลี่ยนชื่อ แต่ความหมายยังไม่เปลี่ยน
เอเวอเรสต์เป็นยอดเขา ที่สูงที่สุดในโลก การที่จะขึ้นไปข้างบนได้ ถือว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ที่จะปีนขึ้นไปแบบไม่มีทักษะ ซึ่งชาวบ้านที่อยู่แถวนั้น ทราบถึงเรื่องนี้อย่างดี ชาวเชอร์ปา ซึ่งเป็นชนเผ่าท้องถิ่น ที่อาศัยอยู่ชายเขามาเป็นพัน ๆ ปี
ต่างพากันยกให้ยอดเขาดังกล่าว คือจุดหมายสูงสุดในชีวิต ชาวชนเผ่านี้มีความเชื่อว่า การได้ปีนขึ้นไปถึงยอดเขาเอเวอเรสต์ได้ เป็นเหมือนการได้ขึ้นไป บูชาพระเจ้าผู้สร้างโลกนั่นเอง @UFA-X10
เรียบเรียงโดย อลิส